*รับมือ “เอ็มพ็อกซ์” (mpox) หรือฝีดาษลิง ป้องกันก่อนเสี่ยง!!*

พบ! ผู้ป่วยฝีดาษลิงเสียชีวิตรายแรกในไทย!! พบติดทั้งเชื้อ “เอชไอวี-ซิฟิลิส” ร่วมด้วย ป้องกันดูแลตนเองอย่างไรไม่ให้เสี่ยงติดเชื้อจากโรคฝีดาษลิง

เป็นอยู่หรือเปล่า “เครียดไม่รู้ตัว” มาเช็กอาการกัน

สัญญาณเตือนอาการแบบนี้…คุณกำลังเครียดไม่รู้ตัว คุณมีอาการเหล่านี้อยู่หรือเปล่า? มาเช็กอาการพร้อมหาวิธีรับมือเพื่อจัดการกับความเครียด

ไข้เลือดออก ต้องระวัง! ติดเชื้อซ้ำยิ่งอันตราย

ยุงลาย…ตัวการพาหะนำโรคร้ายสุดโหด ไข้เลือดออก พบได้ในทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกแบบนี้ อาจทำให้เสี่ยงเป็นโรคไข้เลือดออกได้มากขึ้น

STROKE รู้จัก! ภาวะสมองขาดเลือด

รู้เร็ว รักษาเร็ว “เวลา” เป็นปัจจัยสำคัญ ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาเร็วที่สุด หากรักษาไม่ทันเวลา ผู้ป่วยจะมีอาการสมองตาย และเป็นอัมพาตในเวลาต่อมา

ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis/ Septicemia) รักษาไม่ทัน อันตรายถึงชีวิต!

ทุกคนมีความเสี่ยงภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ หากพบว่ามีอาการเหล่านี้รีบพามาโรงพยาบาลทันที!!!

วูบ หน้ามืด หมดสติ!!! สัญญาณโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ

วูบบ่อย อันตรายมากนะ !!! หากมีอาการวูบ หน้ามืด หมดสติ รีบส่งโรงพยาบาลทันที ตรวจหาสาเหตุ เพื่อป้องกัน และรักษา ก่อนเป็นอันตรายถึงชีวิต

โรคมือ เท้า ปาก รับมืออย่างไรดี? สังเกตอาการและวิธีป้องกัน

โรคมือเท้าปาก (HFMD) พบบ่อยในกลุ่มเด็กเล็กระบาดมากช่วงหน้าฝน เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโร (EV71) มีไข้ แผลในปาก ตุ่มใสตามฝ่ามือฝ่าเท้า

ฝนตกบ่อย ระวังป่วย ดูแลสุขภาพด้วยนะ

ฝนตกทำให้เชื้อไวรัสและแบคทีเรียแพร่กระจายอยู่ในอากาศ และสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้โดยตรง เพิ่มความเสี่ยงให้ป่วยง่าย!

ตรวจสุขภาพประจำปี ควรตรวจความเสี่ยงโรคอะไรบ้าง ?

การตรวจสุขภาพ เป็นสิ่งที่ทุกเพศทุกวัยควรใส่ใจอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อค้นหาความเสี่ยงการเกิดโรคและเพิ่มโอกาสการรักษา

ใครบ้างที่ควรฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่

เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อที่รุนแรง ควรให้เด็กได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่โดยสามารถฉีดได้ตั้งแต่ 6 เดือนเป็นต้นไป แนะนำให้ฉีดทุกปี ปีละ 1 เข็ม

โทรหาเรา 1728 นัดหมายแพทย์ นัดหมายแพทย์

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า