รู้ทันความเสี่ยง โรคติดเชื้อที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานต้องระวัง!
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบภาวะโรคติดเชื้อได้บ่อยขึ้น แสดงอาการรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป ต้องนอนโรงพยาบาลนานกว่าปกติ และมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสเลือดมากขึ้น
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบภาวะโรคติดเชื้อได้บ่อยขึ้น แสดงอาการรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป ต้องนอนโรงพยาบาลนานกว่าปกติ และมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสเลือดมากขึ้น
โรคข้อเข่าเสื่อมไม่ได้เป็นเฉพาะในคนสูงอายุ หนุ่มสาววัยกลางคนก็เป็นได้! ได้ยินเสียงดังในเข่า ข้อเข่าฝืดแข็ง งอเข่าได้ไม่สุด เมื่อยง่าย
โรคเบาหวานมีอยู่ 4 ชนิด ประมาณ 95% ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2 จากสาเหตุข้างต้น คือ เกิดจากมีภาวะดื้อกับฮอร์โมนอินซูลิน ร่วมกับมีภาวะการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินจากตับอ่อนลดลง
โรคจอประสาทตาเสื่อม สามารถนำไปสู่ภาวะการสูญเสียการมองเห็นในอนาคตได้ โดยในยุคดิจิทัลในปัจจุบัน มีโอกาสพบโรคนี้ในผู้ที่อายุยังน้อยเพิ่มขึ้น ดังนั้น การตรวจวินิจฉัยและพบความผิดปกติตั้งแต่เนิ่นๆ จะช่วยป้องกันความเสี่ยงและช่วยให้ผู้ป่วยมีสายตาที่ปกติได้
จอประสาทตาเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมบริเวณส่วนกลางของจอประสาทตา อาการมักจะเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป จึงทำให้ความสามารถในการมองเห็นของผู้ป่วยลดลงอย่างช้าๆ
ต้อหิน เกิดจากการที่ความดันลูกตาสูงจนเกิดการกดทับขั้วประสาทตา ทำให้เซลล์ประสาทตาถูกทำลายและลดลงเรื่อยๆ หากปล่อยไว้ไม่รักษา อาจทำให้สูญเสียการมองเห็นในที่สุด
โรคหัวใจถือเป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยสูงเป็นอันดับต้นๆ โดยในผู้ป่วยบางรายมักมีสัญญาณเตือนก่อน เช่น เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกาย เจ็บหน้าอก หายใจเข้าได้ลำบาก เป็นต้น แต่ในผู้ป่วยบางรายก็ไม่มีอาการแสดงแต่อย่างใด คุณเป็นโรคหัวใจหรือไม่ รู้ได้ด้วยวิธีการตรวจวินิจฉัยเหล่านี้
ปลายประสาทอักเสบ เป็นภาวะหนึ่งของเส้นประสาทซึ่งทำหน้าที่รับส่งคำสั่งจากสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่าง ๆ เกิดความเสียหายหรือเกิดโรคบางชนิด จนทำให้เกิดอาการต่างๆ
โรคหัวใจ หรือ Heart Disease หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยความผิดปกติที่เกิดขึ้นในส่วนของหัวใจที่ต่างกัน ทำให้โรคหัวใจมีอาการต่างกันไปในแต่ละชนิด
อย่างที่เราทราบกันอยู่แล้ว การฉีดวัคซีนถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก แต่รู้หรือไม่ว่า ผู้สูงอายุก็จำเป็นต้องได้รับการฉีดวัคซีนด้วยเช่นกัน เพราะเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น จะทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง และมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นโรคต่างๆ สูง และเกิดภาวะแรกซ้อนได้ง่าย
โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ (Coronary artery disease: CAD หรือ Coronary heart disease: CHD) อีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยสูงเป็นอันดับ 2 รองจากโรคมะเร็ง ในตลอดช่วง 20 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยผู้ป่วยบางรายมักไม่ปรากฏอาการ
วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ได้รับการอนุมัติใช้งานแล้วกว่า 168 ประเทศทั่วโลก โดยสามารถฉีดได้ตั้งแต่ผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เช็ค! อาการข้างเคียงหลังการฉีดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ที่สามารถพบได้ที่นี่
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า