Home > ข้อมูลสุขภาพ > Page 20
ไทรอยด์ คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ซึ่งทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน เพื่อควบคุมระบบการเผาผลาญของร่างกาย หากต่อมไร้ท่อทำงานผิดปกติ ผลิตฮอร์โมนมากเกินไปหรือต่ำเกินไป ก็จะส่งผลกระทบต่อระบบการเผาผลาญของร่างกาย รวมถึงส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะหัวใจและสมอง
ไวรัสตับอักเสบบี (HBV) เป็นเชื้อไวรัสที่ทำให้ผู้ได้รับเชื้อมีแนวโน้มเกิด ภาวะตับอักสบเรื้อรัง ตับแข็ง และอาจกลายเป็นมะเร็งตับในที่สุด
update ข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสโควิด19 – ทำความรู้จักกับไวรัสโควิดกลายพันธุ์ แต่ละสายพันธุ์แตกต่างกันอย่างไร รวมถึงสายพันธุ์อันตรายในไทยที่ต้องระวัง!
อาการปวดฟัน เสียวฟัน มีหลายระดับ ตั้งแต่ปวดน้อยไปจนถึงปวดมาก อาจมีอาการหนักลุกลามไปจนถึงรากฟัน หากไม่รีบทำการรักษา
โรคกินไม่หยุด – Binge Eating Disorder (BED) คือ อาการรับประทานอาหารปริมาณมากผิดปกติโดยที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ผู้ที่มีอาการโรคกินไม่หยุดนี้ มักมีการรับประทานอาหารปริมาณมากกว่าปกติแม้ไม่รู้สึกหิว และไม่สามารถควบคุมการรับประทานของตนเองได้
รวมคำถามชวนสงสัยเกี่ยวกับวัคซีนโควิด – หายแล้วเป้นซัำได้ไหม – ฉีดพร้อมกับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่ – ถ้าติดชากาแฟฉีดได้ไหม – หลังฉีดวัคซีนแล้วมีไข้ควรทำอย่างไร?
วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ได้รับการอนุมัติใช้งานแล้วกว่า 168 ประเทศทั่วโลก โดยสามารถฉีดได้ตั้งแต่ผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เช็ค! อาการข้างเคียงหลังการฉีดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ที่สามารถพบได้ที่นี่
ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องรับการฉีดวัคซีนโควิด เนื่องจากหากติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงในการเสียชีวิตมากกว่ากลุ่มอื่น ในการเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด สำหรับผู้สูงอายุและผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังควรเตรียมพร้อมร่างกาย และปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังนี้
ภายในช่องท้อง เต็มไปด้วยอวัยวะหลายส่วน เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้น ก็มักจะแสดงอาการปวดที่แตกต่างกันไป ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคต่างๆ ได้ เช็คสัญญาณเบื้องต้น ปวดท้องด้านซ้าย เสี่ยงเป็นอะไร? พร้อมวิธีเตรียมรับมือป้องกัน
โรคกระเพาะอาหาร เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร เกิดจากการมีพฤติกรรมการทานอาหารที่ไม่ถูกต้องโดยส่วนมากจะมีอาการ ปวดเสียด จุก และแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องก่อนและหลังอาหารหรือช่วงท้องว่าง เป็นต้น
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Maternity Blue) เกิดจากระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในช่วงหลังคลอด ทำให้คุณแม่มีอาการซึมเศร้า เสียใจ หดหู่โดยไม่มีสาเหตุ 1 ใน 6 ของคุณแม่หลังคลอด มักต้องเผชิญกับภาวะซึมเศร้า
โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง หรือ IBD คือ โรคที่มีการอักเสบของระบบทางเดินอาหารชนิดหนึ่ง สามารถเกิดได้ทั้งในลำไส้ใหญ่ และลำไส้เล็ก ผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการปวดท้อง ท้องร่วง ถ่ายมีมูกเลือดปน พบได้ในทุกช่วงอายุ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ มักมีอายุ 20 – 40 ปี และยังคงพบว่ามีแนวโน้มผู้ป่วยโรคนี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ