ทำความรู้จักกับ Post Covid อาการที่คนเคยติดเชื้อโควิด-19 ต้องรู้!

Post Covid Condition เป็นอาการหลังจากติดเชื้อ Covid โดยผู้ป่วยยังมีอาการผิดปกติยาวนานกว่า 4 สัปดาห์ แม้จะหายจากเชื้อโควิดแล้ว ผู้ป่วยบางรายยังรู้สึกไม่แข็งแรง และยังไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนที่ผ่านมา

รับมือโควิดเดลต้าพลัส ปฏิบัติตัวอย่างไรดี

เชื้อก่อโรคโควิดสายพันธ์ใหม่เดลต้าพลัส Delta Plus จะมาหรือไม่! เราต้องปฏิบัติตัวอย่างไร? ร่วมมือกันเอาตัวรอดจากวิกฤติโรคระบาดครั้งนี้ไปด้วยกันนะ #โควิด19เราต้องรอด

Delta Plus เดลต้าพลัส โควิดสายพันธุ์อันตราย

โควิดสายพันธุ์เดลตาพลัส – Delta Plus (B.1.617.21.1 หรือ AY.4.2) โควิดสายพันธุ์ที่ต้องจับตามอง แพร่เชื้อง่ายขึ้น เร็วกว่าสายพันธุ์อื่น เกาะจับเซลล์ปอดได้ง่ายขึ้น หลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันได้ดี

ทำความรู้จักวัคซีนไฟเซอร์ และสังเกตอาการข้างเคียงหลังรับวัคซีน

วัคซีนไฟเซอร์ (Pfizer) เป็นวัคซีน messenger RNA (mRNA) vaccine: วัคซีนชนิดสารพันธุกรรม โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันอาการป่วยแบบมีอาการจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์เดลตา (B.1.351) ได้ 88%

คุณหมอเตือน อันตรายแค่ไหน? หากผู้ป่วยโรคเบาหวานติดเชื้อโควิด

COVID19 กับ โรคเบาหวาน อันตรายอย่างไร? เพราะอะไรผู้ป่วยโรคเบาหวานหากติดโควิด-19 จะพบความเสี่ยงที่ทำให้เกิดอาการรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป

เรื่องต้องรู้! อาการที่ควรเฝ้าระวังหลังเด็กๆ ได้รับวัคซีนโควิด

เรื่องต้องรู้! อาการที่ควรเฝ้าระวังหลังได้รับวัคซีนโควิด ในเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป หากมีอาการเหล่านี้อาจมีความเสี่ยงภาวะของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบได้

วิธีตรวจหาเชื้อโควิดโดย Antigen Test Kit (ATK) ด้วยตัวเอง

Antigen Test Kit หรือชุดตรวจโควิด-19 แบบเร่งด่วน ด้วยการ Swab เก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งทางจมูก ลึกถึงคอ หรือเก็บจากคอ สามารถทำได้เองที่บ้าน การตรวจชนิดนี้เป็นการตรวจคัดกรองเบื้องต้นเท่านั้น

วัคซีนโควิดมีกี่ชนิด?

การคิดค้นวัคซีนโควิด-19 โดยวิธีการผลิตวัคซีนหรือที่มาของวัคซีนมีหลายวิธีการ เพื่อต่อต้านไวรัส SAR—CoV-2 ไม่ให้เข้าสู่ร่างกายเพื่อไปก่อโรคได้ มาทำความรู้จักวัคซีนป้องกันโควิดแต่ละประเภทกัน

LONG COVID เจ็บ…แต่ไม่จบ – ภาวะลองโควิด อาการเรื้อรังที่ตามมาของคนเคยติดเชื้อโควิด-19

โควิด-19 นับว่าเป็นโรคที่ส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพราะระหว่างการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเพื่อไปจับกับเซลล์โปรตีนของบางอวัยวะ ทำให้เกิดการอักเสบในร่างกาย เป็นผลให้อวัยวะนั้นๆ ได้รับความเสียหาย ส่งผลกระทบไปทั่วร่างกาย

โควิด-19 เราต้องรอด! กลับถึงบ้าน…ทำสิ่งเหล่านี้ทันที

ในช่วงที่สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ยังคงน่าเป็นห่วง และใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกที การเดินทางและออกไปทำกิจกรรมนอกบ้านมีความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโควิด-19 และนำเชื้อกลับเข้ามาภายในบ้านของคุณโดยไม่รู้ตัว!

How to ทิ้ง หน้ากากอนามัย ให้ถูกต้องและปลอดภัย

หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอาจมีเชื้อโรคติดอยู่ ควรทิ้งให้ถูกวิธีเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ และนำไปสู่กระบวนการกำจัดขยะติดเชื้อ

ยาและสิ่งจำเป็นที่ควรมีติดบ้านช่วงโควิด-19

ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด การมียาหรืออุปกรณ์จำเป็นเหล่านี้ติดบ้านไว้ ถือเป็นการดูแลตนเองอย่างหนึ่ง แม้ว่าจะไม่มีอาการป่วยก็ควรมีติดบ้านไว้

1 2 3 4 5 6 9
โทรหาเรา 1728 นัดหมายแพทย์ นัดหมายแพทย์

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า