Home > ข้อมูลสุขภาพ > Covid-19 > Page 6
HOME ISOLATION หรือการแยกกักตัวที่บ้าน คืออีกหนึ่งวิธีในการดูแลตัวเอง สำหรับผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มสีเขียว ที่ไม่มีอาการแสดง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย สำหรับผู้ป่วยที่แพทย์ประเมินแล้วว่าสามารถรักษาตัวอยู่ที่บ้านได้ อาการแบบไหนบ้างที่เข้าเกณฑ์?
Home Isolation หรือการกักตัวที่บ้าน คือ อีกหนึ่งวิธีในการดูแลตัวเอง สำหรับผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มสีเขียว ที่ไม่มีอาการแสดง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย สำหรับผู้ป่วยที่แพทย์ประเมินแล้วว่าสามารถรักษาตัวอยู่ที่บ้านได้ ก็สามารถปฏิบัติตนได้ง่าย ๆ ดังนี้
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 หลายคนคงสงสัยว่าตนเองมีอาการอยู่ในกลุ่มไหน? อาการหนักหรือไม่? มีภาวะเชื้อไวรัสลงปอดหรือยัง? ฟังคำแนะนำวิธีเช็กอาการโควิดลงปอดได้ที่นี่
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งระดับอาการผู้ป่วยโควิด ตามระดับอาการป่วยออกเป็นสีเขียว สีเหลือง และสีแดง เพื่อการดูแลและรักษาอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง
เมื่อใดที่ต้องไปตรวจโควิด-19? เช็กก่อน อย่าเพิ่งวิตกกังวล สังเกตอาการตนเอง หากมีอาการเสี่ยงข้างต้น มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ติดเชื้อหรือเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง ควรเข้ารับการตรวจโควิด
อายุขัย COVID-19 แตกต่างกันออกไปตามแต่ละพื้นผิวโดยเชื้อสามารถมีชีวิตอยู่รอดได้หลายชั่วโมงบนพื้นผิวเรียบแต่หากอยู่ในความชื้นที่เหมาะสม ก็สามารถอยู่รอดได้หลายวัน
ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) แพร่กระจายเชื้อได้จากละอองฝอยจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วย ซึ่งหากร่างกายสูดดมของผู้ติดเชื้อ จะสามารถรับเชื้อไวรัสโคโรนาเข้าสู่ร่างกายได้ ผู้ติดเชื้อส่วนมากมักไม่มีอาการแสดง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรก
การฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 สามารถลดการแพร่ระบาด ลดความรุนแรงของอาการ และลดการเสียชีวิตได้ ดังนั้น วัคซีนจึงถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยควบคุมการระบาดของโรค และช่วยปกป้องให้ผู้คนปลอดภัยจากโรคนี้ได้
update ข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสโควิด19 – ทำความรู้จักกับไวรัสโควิดกลายพันธุ์ แต่ละสายพันธุ์แตกต่างกันอย่างไร รวมถึงสายพันธุ์อันตรายในไทยที่ต้องระวัง!
รวมคำถามชวนสงสัยเกี่ยวกับวัคซีนโควิด – หายแล้วเป้นซัำได้ไหม – ฉีดพร้อมกับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ได้หรือไม่ – ถ้าติดชากาแฟฉีดได้ไหม – หลังฉีดวัคซีนแล้วมีไข้ควรทำอย่างไร?
วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ได้รับการอนุมัติใช้งานแล้วกว่า 168 ประเทศทั่วโลก โดยสามารถฉีดได้ตั้งแต่ผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เช็ค! อาการข้างเคียงหลังการฉีดวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า (AstraZeneca) ที่สามารถพบได้ที่นี่
ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องรับการฉีดวัคซีนโควิด เนื่องจากหากติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงในการเสียชีวิตมากกว่ากลุ่มอื่น ในการเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด สำหรับผู้สูงอายุและผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังควรเตรียมพร้อมร่างกาย และปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังนี้