ปวดหลังแต่ทำไมร้าวลงขา

ปวดหลังร้าวลงขา สัญญาณเตือนที่ควรระวัง อาจเกิดจากหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โดยส่วนใหญ่พบว่า ผู้ป่วยที่มีอาการนี้อยู่ในวัยทำงานมากที่สุด!

สัญญาณอันตราย! อาการแบบไหน ที่ผู้ป่วยเบาหวานต้องระวัง?

ผู้ป่วยเบาหวานเมื่อเกิดภาวะติดเชื้อจะเสี่ยงเสียชีวิตมากกว่าคนปกติ และมักมีโรคร่วมอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาต-อัมพฤกษ์

ปวดหัวบ่อย เห็นภาพซ้อน สัญญาณเตือนเสี่ยง “เนื้องอกในสมอง”

เนื้องอกในสมอง มักเกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ และสามารถเกิดได้กับทุกเพศทุกวัย หากมีอาการปวดหัวบ่อย เห็นภาพซ้อน มึนงง รีบพบแพทย์ด่วน!

เบาหวาน โรคใกล้ตัวที่ควรรู้

โรคเบาหวานมีอยู่ 4 ชนิด ประมาณ 95% ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด เป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2 จากสาเหตุข้างต้น คือ เกิดจากมีภาวะดื้อกับฮอร์โมนอินซูลิน ร่วมกับมีภาวะการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินจากตับอ่อนลดลง

“ตับแข็ง” ไม่ดื่มก็เป็นได้

“ตับแข็ง” เป็นภาวะที่เกิดขึ้นของโรคตับซึ่งทำให้เกิดการทำลายตับและการอักเสบ เมื่อมีการอักเสบเกิดขึ้นซ้ำๆ จะทำให้เนื้อเยื่อที่ดีของตับถูกทำลายเกิดแผลเป็นและพังผืดขึ้นมาแทนที่เนื้อตับจึงสูญเสียความยืดหยุ่นและกลายเป็นตับแข็งในที่สุด

ปวดหลังส่วนล่าง วัยทำงานต้องระวัง!

อาการปวดหลังส่วนล่าง (Low back pain) เป็นอีกหนึ่งอาการที่พบได้บ่อยในวัยทำงาน โดยจะมีอาการปวดหลังตั้งแต่ระดับคอลงไปจนถึงบริเวณก้นกบ

อาหารไม่ย่อย สัญญาณเตือนปัญหาระบบทางเดินอาหาร

อาการอาหารไม่ย่อยนี้ พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ อาการมักจะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว แต่รู้หรือไม่ นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคหรือมีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร

สาเหตุ และอาการ “ตากุ้งยิง”

ไม่ได้แอบดูใครแต่ทำไมเป็นตากุ้งยิง! ทำความรู้จักกับสาเหตุและอาการของโรคตากุ้งยิง อาการติดเชื้อแบคทีเรียดวงตาที่ไม่ควรมองข้าม

ปวดท้องแบบนี้ คุณอาจเป็น “แผลในกระเพาะอาหาร”

โรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือพียูดี (PUD: Peptic Ulcer Disease) คือ โรคที่มีแผลเกิดขึ้นในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้น โดยโรคนี้พบได้บ่อยในทุกช่วงวัย

คุณเป็นโรคหัวใจหรือไม่? โรคหัวใจตรวจด้วยวิธีใดได้บ้าง

โรคหัวใจถือเป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยสูงเป็นอันดับต้นๆ โดยในผู้ป่วยบางรายมักมีสัญญาณเตือนก่อน เช่น เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกาย เจ็บหน้าอก หายใจเข้าได้ลำบาก เป็นต้น แต่ในผู้ป่วยบางรายก็ไม่มีอาการแสดงแต่อย่างใด คุณเป็นโรคหัวใจหรือไม่ รู้ได้ด้วยวิธีการตรวจวินิจฉัยเหล่านี้

“เครียดลงกระเพาะ” โรคยอดฮิตคนวัยทำงาน – คนคิดมาก

โรคเครียดลงกระเพาะมักจะเกิดกับผู้ที่มีอายุ 18-35 ปี เนื่องจากเป็นช่วงวัยที่อาจจะมีความเครียดมาก ความเครียดที่สะสมในแต่ละวันเป็นตัวการที่ไปกระตุ้นให้กระเพาะหลั่งน้ำย่อยออกมามากกว่าปกติ และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะกำเริบ และส่งผลให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานผิดปกติไปด้วย

1 2 3 4
โทรหาเรา 1728 นัดหมายแพทย์ นัดหมายแพทย์

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า