ผู้ป่วยโควิด เมื่อต้อง ‘Home Isolation’ หรือแยกกักตัวที่บ้าน ต้องทำอย่างไรถึงจะปลอดภัย ?

Home Isolation หรือการกักตัวที่บ้าน คือ อีกหนึ่งวิธีในการดูแลตัวเอง สำหรับผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มสีเขียว ที่ไม่มีอาการแสดง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย สำหรับผู้ป่วยที่แพทย์ประเมินแล้วว่าสามารถรักษาตัวอยู่ที่บ้านได้ ก็สามารถปฏิบัติตนได้ง่าย ๆ ดังนี้

โควิดลงปอด อาการเป็นอย่างไร? ดูแลตนเองอย่างไรเมื่อโควิดลงปอด

ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 หลายคนคงสงสัยว่าตนเองมีอาการอยู่ในกลุ่มไหน? อาการหนักหรือไม่? มีภาวะเชื้อไวรัสลงปอดหรือยัง? ฟังคำแนะนำวิธีเช็กอาการโควิดลงปอดได้ที่นี่

“ป่วยเป็นโควิด” ตอนนี้คุณอยู่ในระดับไหน? ผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว-เหลือง-แดง หมายถึงอะไร?

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งระดับอาการผู้ป่วยโควิด ตามระดับอาการป่วยออกเป็นสีเขียว สีเหลือง และสีแดง เพื่อการดูแลและรักษาอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง

ผู้สูงอายุ ควรฉีดวัคซีนตัวไหนบ้าง?

อย่างที่เราทราบกันอยู่แล้ว การฉีดวัคซีนถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก แต่รู้หรือไม่ว่า ผู้สูงอายุก็จำเป็นต้องได้รับการฉีดวัคซีนด้วยเช่นกัน เพราะเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น จะทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง และมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นโรคต่างๆ สูง และเกิดภาวะแรกซ้อนได้ง่าย

สัญญาณเตือน ไส้ติ่งอักเสบ!

ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) เป็นโรคปวดท้องเฉียบพลันที่พบบ่อยที่สุด โดยสามารถพบได้ในทุกวัย จำนวนผู้ป่วยมากถึงร้อยละ 7 ของคนไทย โดยส่วนใหญ่มักพบผู้ป่วยในวัยเด็กจนถึงวัยทำงาน

“เครียดลงกระเพาะ” โรคยอดฮิตคนวัยทำงาน – คนคิดมาก

โรคเครียดลงกระเพาะมักจะเกิดกับผู้ที่มีอายุ 18-35 ปี เนื่องจากเป็นช่วงวัยที่อาจจะมีความเครียดมาก ความเครียดที่สะสมในแต่ละวันเป็นตัวการที่ไปกระตุ้นให้กระเพาะหลั่งน้ำย่อยออกมามากกว่าปกติ และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะกำเริบ และส่งผลให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานผิดปกติไปด้วย

มะเร็งเม็ดเลือดขาว – 1 ใน 10 โรคมะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย

มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือลูคีเมีย (Leukemia) เป็นโรคมะเร็งชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย ทุกช่วงวัย โดยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเป็น 1 ใน 10 โรคมะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย

ภัยร้ายใกล้ตัวคุณ “ เจ็บแน่นหน้าอก” อาจเป็นภัยเงียบของเส้นเลือดหัวใจตีบ พบแพทย์ด่วน ❗

โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ (Coronary artery disease: CAD หรือ Coronary heart disease: CHD) อีกหนึ่งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยสูงเป็นอันดับ 2 รองจากโรคมะเร็ง ในตลอดช่วง 20 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยผู้ป่วยบางรายมักไม่ปรากฏอาการ

เช็กชัวร์! เมื่อใดต้องไปตรวจ Covid

เมื่อใดที่ต้องไปตรวจโควิด-19? เช็กก่อน อย่าเพิ่งวิตกกังวล สังเกตอาการตนเอง หากมีอาการเสี่ยงข้างต้น มีการสัมผัสโดยตรงกับผู้ติดเชื้อหรือเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง ควรเข้ารับการตรวจโควิด

เชื้อ COVID-19 มีชีวิตอยู่ได้นานกี่วัน !?

อายุขัย COVID-19 แตกต่างกันออกไปตามแต่ละพื้นผิวโดยเชื้อสามารถมีชีวิตอยู่รอดได้หลายชั่วโมงบนพื้นผิวเรียบแต่หากอยู่ในความชื้นที่เหมาะสม ก็สามารถอยู่รอดได้หลายวัน

โควิด-19 ติดต่อทางไหนบ้าง?

ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) แพร่กระจายเชื้อได้จากละอองฝอยจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วย ซึ่งหากร่างกายสูดดมของผู้ติดเชื้อ จะสามารถรับเชื้อไวรัสโคโรนาเข้าสู่ร่างกายได้ ผู้ติดเชื้อส่วนมากมักไม่มีอาการแสดง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรก

1 25 26 27 28 29 45
โทรหาเรา 1728 นัดหมายแพทย์ นัดหมายแพทย์

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า